30 มิถุนายน 2552

29 มิถุนายน 2552

DTS-02 24/06/52

#include"stdio.h"
struct telephone
{
int date;
int month;
int year;
char name[20];
char sex[6];
int age;
char series[20];
int price;
}tel;
void input_data()
{
printf("Customer in mobile shop\n");
printf("date is (dd/mm/yy): ");
scanf("%d/%d/%d",&tel.date,&tel.month,&tel.year);
printf("name: ");
scanf("%s",&tel.name);
printf("sex: ");
scanf("%s",&tel.sex);
printf("age: ");
scanf("%d",&tel.age);
printf("series: ");
scanf("%s",&tel.series);
printf("price: ");
scanf("%d",&tel.price);
}
void show_data()
{
printf("\n\nDisplay your data is\n");
printf("date: ");
printf("%d:%d:%d\n",tel.date,tel.month,tel.year);
printf("name: ");
printf("%s\n",tel.name);
printf("sex: ");
printf("%s\n",tel.sex);
printf("age: ");
printf("%d\n",tel.age);
printf("series: ");
printf("%s\n",tel.series);
printf("price: ");
printf("%d\n",tel.price);
}
main()
{
input_data();
show_data();
}

สรุป 02

1. ได้ทราบว่าอะเรย์มี 1 มิติ หลายมิติและความสัมพันธ์ระหว่าง เรคคอร์ด กับอะเรย์ และอะเรย์ ชนิดโครงสร้าง
2. ทราบถึงการส่งการทำงานของ Array โดยฟังก์ชั่นและ โปรแกรม
3. ทราบการประกาศอาร์กิวเมนต์ในฟังก์ชันเป็นอะเรย์ ถ้าเป็นอะเรย์มิติเดียว สามารถทำได้ทั้งหมด 3 วิธี
3.1 มีการประกาศขนาดของอะเรย์ที่ทำหน้าที่ในการรับค่า
3.2 ไม่ต้องมีการประกาศขนาดของอะเรย์ที่ทำหน้าที่ในการรับค่า
3.3 ตัวแปรที่ทำหน้าที่รับค่าถูกกำหนดเป็นพอยน์เตอร์
4. ทราบวิธีการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ดของข้อมูล
5. สามารถนำความรู้ที่ได้เรียน ไปเขียนโปรแกรมเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

26 มิถุนายน 2552

ประวัติ


ชื่อ พัฒชานนท์ หมอประคำ
Mr.Patchanon morpracome
รหัส 50152792068
หลักสูตร การบริหารธุรกิจ(คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการจัดการ
มหาลัยราชภัฏสวนดุสิต
E-mail : u50152792068@gmail.com